English (United Kingdom)Thai (ภาษาไทย)

Banner Goboslide

Slideshow Image 1
Slideshow Image 2
Slideshow Image 3
Slideshow Image 4

สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้7
mod_vvisit_counterเมื่อวานนี้0
mod_vvisit_counterสัปดาห์นี้7
mod_vvisit_counterสัปดาห์ที่ผ่านมา0
mod_vvisit_counterเดือนนี้7
mod_vvisit_counterเดือนที่ผ่านมา0
mod_vvisit_counterทั้งหมด88473

คุยกับอธิบดี
Slideshow Image 1
Slideshow Image 2
Slideshow Image 3
Slideshow Image 4
ด่วน ขอรับใบอนุญาตตามกฎหมายเลื่อยโซ่ยนต์ได้แล้ว ต่างจังหวัด ติดต่อ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด สำหรับกรุงเทพมหานคร ติดต่อ กองการอนุญาต กรมป่าไม้ และขอคำแนะนำ/ปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายเลื่อยโซ่ยนต์ ติดต่อ 0-2579-2391, 0-2561-4292-3 ต่อ 206

Hot News

ข่าวกิจกรรม

ผู้บริหารกรมป่าไม้
     
 
นายสมชัย  เพียรสถาพร
อธิบดีกรมป่าไม้
 
     

นายสุนันต์  อรุณนพรัตน์
รองอธิบดีกรมป่าไม้

นายชลธิศ  สุรัสวดี

รองอธิบดีกรมป่าไม้

ดร.ธีรภัทร  ประยูรสิทธิ
รองอธิบดีกรมป่าไม้
     

นายธัญญา  เนติธรรมกุล
ผู้อำนวยการสำนัก
ส่งเสริมการปลูกป่า

นายสมชาย  จารุสัมพันธ์จิต
ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้

นายประลอง  ดำรงค์ไทย
ผู้อำนวยการสำนัก
จัดการป่าชุมชน


ดร.วิฑูรย์  ชลายนนาวิน
ผู้อำนวยการสำนัก
ป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า

       

นายอดุลรัตน์  ตั้งทวี
ผู้อำนวยการสำนักแผนงานและสารสนเทศ

 
นายกฤษณะ  พฤกษะวัน
ผู้อำนวยการสำนักจัดการที่ดินป่าไม้


นางสาวมาลี ศรีรัตนธรรม
ผู้อำนวยการ
สำนักบริหารกลาง

นายพฤกษ์  โสโน
ผู้อำนวยการกองการอนุญาต
     
 
นโยบายป่าไม้แห่งชาติ PDF พิมพ์ อีเมล
        เพื่อให้การจัดการและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ สามารถกระทำ โดยต่อเนื่องในระยะยาวและประสานสอดคล้องกับ การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่น จึงสมควรกำหนด นโยบายการ ป่าไม้แห่งชาติไว้ให้เป็นการแน่นอน เพื่อให้ ส่วนราชการและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องได้มีความ เข้าใจร่วมกันและถือเป็นแนวทางปฏิบัติ อัน จะทำให้การพัฒนา ป่าไม้เป็นไปอย่างราบรื่น และบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ดัง นี้
        1. ให้มีการกำหนดแนวทางการ จัดการและการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ ในระยะยาวอันจะ ทำให้ประเทศได้รับประโยชน์อย่างคุ้มค่าทาง สังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคงและ สิ่งแวดล้อมมากที่สุด โดยเน้นให้มีการประสานกันระหว่างทรัพยากรป่า ไม้และทรัพยากรธรรมชาติอื่น
        2. ส่งเสริมบทบาท และหน้าที่ของส่วนราชการต่างๆ และภาคเอกชนให้มี ส่วนรับผิดชอบในการจัดการและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ ร่วมกัน
        3. ปรับปรุงระบบการบริหารงาน ป่าไม้ของชาติให้สอดคล้องกับปริมาณคุณภาพและสภาพ ทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป
        4. กำหนดให้มีพื้นที่ป่าไม้ทั่วประเทศอย่างน้อยใน อัตราร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศเพื่อประโยชน์ 2 ประการ ดังนี้
                4.1 ป่าเพื่อการอนุรักษ์ กำหนดไว้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ที่หายากและป้องกันภัยธรรมชาติอันเกิด จากน้ำท่วมและการพังทลายของดิน ตลอดทั้ง เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย และนันทนาการของประชาชนใน อัตราร้อยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ
                4.2 ป่าเพื่อเศรษฐกิจ กำหนดไว้เพื่อการผลิตไม้และ ของป่าเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจในอัตราร้อยละ 15 ของพื้นที่ประเทศ
        5. รัฐ และภาคเอกชน จะพัฒนาพื้นที่ป่าไม้ไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ และจะจัดการพัฒนาให้อำนวยประโยชน์ทั้งในทางตรง และทางอ้อมโดยสม่ำเสมอตลอดไป
        6. ให้เพิ่มการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตทางการเกษตรเพื่อลดการทำลาย พื้นที่ป่าไม้
        7. เพื่อก่อให้เกิดการประสาน การใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติ ชนิดอื่นๆ เช่น ที่ดิน แหล่งน้ำ และทรัยากรธรณี รวมทั้งเพื่อก่อให้เกิดการประสานความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานของรัฐกับ ภาคเอกชนและประชาชนในท้องถิ่น รัฐจะจัดให้ มีแผนพัฒนาป่าไม้ไว้เป็นส่วนหนึ่งของแผน พัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติโดยบรรจุไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ
        8. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ด้วย การจัดการป่าไม้ทั้งในระบบวนวัฒน์แบบเลือกตัด และระบบวนวัฒน์แบบตัดหมด ตามหลักวิชาการ โดย เฉพาะในระบบตัดหมดนี้ เมื่อตัดแล้วให้ปลูก ทดแทนในพื้นที่ที่ถูกตัดทันที
        9. เพื่อประโยชน์ในการอนุรักษ์และการป้องกันภัยอันเกิดจากสิ่งแวดล้อมรัฐจะต้องเร่งรัดปรับปรุงการวางผังเมืองและกำหนดพื้นที่ป่าไม้ให้แน่นอนเพื่อกำหนดเขตการใช้ ประโยชน์ที่ดิน สำหรับเป็นพื้นที่ที่ อยู่อาศัย พื้นที่ประเภทชนบทและพื้นที่เกษตรกรรมในแต่ละ จังหวัดที่แน่นอนเพื่อป้องกันการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้
        10. การแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายป่าไม้ระดับ ชาติให้กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยป่าไม้
        11. เพื่อเป็นการปลูกฝังให้ประชาชนมีความรู้สึก รักและหวงแหน รู้จักใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่างประหยัด รัฐจะต้องให้ความรู้ ทัศนคติ ความสำนึก ความรู้สึก และทักษะ แก่ ประชาชนเกี่ยวกับผลประโยชน์ที่จะได้ รับจากทรัพยากรป่าไม้และผลเสียจากการตัดไม้ ทำลายป่า การใช้สอยไม้อย่างฟุ่มเฟือย จัดให้มี การเผยแพร่ความรู้และความเข้าใจ แก่ประชาชน เกี่ยวกับความสำคัญของทรัพยากรป่าไม้ที่มีต่อส่วนรวม
        12. ให้มีการพัฒนาด้านป่าไม้ โดย ส่งเสริมการปลูกป่าภาคเอกชนและภาครัฐบาลเพื่อ ใช้ภายในประเทศ เพื่อประโยชน์ในการอุตสาหกรรม และสนับ สนุนให้มีการส่งออกไป จำหน่ายต่างประเทศ ส่ง เสริมการปลูกป่าชุมชน ส่งเสริมการปลูกป่าใน ที่ดินของรัฐ และการปลูกป่าตามหัวไร่ปลาย นา หรือการปลูกป่ารายย่อยเพื่อประโยชน์ใช้สอย ใน ครัวเรือน
        13. สนับสนุนให้มีโรง งานอุตสาหกรรมแบบต่อเนื่องและโรงงานเยื่อกระดาษ เพื่อ นำทุกส่วนของไม้มาใช้ประโยชน์และส่งเสริม ให้มีการใช้วัสดุอื่นทดแทนไม้
        14. ให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย เพื่ออำนวยผล ให้การรักษาและเพิ่มทรัพยากรป่าไม้และการตัดฟัน ไม้มาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
        15. การดำเนินการวิจัยด้านป่าไม้ ให้กรมป่าไม้ขอความ ร่วมมือจากมหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาระดับสูงต่างๆ แทนการตั้งสถาบันวิจัยป่าไม้ระดับชาติ
        16. เพื่อลดการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิง จึงให้มี การใช้ไม้เพื่อพลังงาน โดยให้มีการปลูกป่า เพื่อเป็นแหล่งพลังงาน
        17. กำหนดพื้นที่ที่มี ความลาดชันโดยเฉลี่ย 35 เปอร์เซนต์ขึ้นไป ไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้โดยไม่อนุญาตให้มีการออกโฉนดหรือรับรองการทำประโยชน์ตามประมวลกฎหมายที่ดิน
        18. กำหนดแนวทางปฏิบัติงานที่แน่นอนชัดเจนเกี่ยว กับการแก้ปัญหาการทำลายป่าในรูปแบบต่างๆ เช่น การทำไร่เลื่อนลอย ภัยจากไฟป่า การ ทำลายป่าจากชนกลุ่ม น้อย การรุกล้ำพื้นที่ป่าจากเชิง เขา โดยให้มีการกำหนดมาตราการและขั้นตอน ที่แน่นอนชัดเจน เกี่ยวกับการปราบปรามและการ ลงโทษผู้กระทำผิด รวมทั้งการจัดตั้งศูนย์ รวมการปราบปรามในแต่ละภาคและให้มี มาตราการลงโทษเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้มีอิทธิพล และผู้กระทำผิดไว้เป็นหลักในการปฏิบัติงาน ของหน่วยราชการและภาคเอกชน
        19. กำหนดให้ มีสิ่งจูงใจในการส่งเสริมการปลูกป่า ภาคเอกชน
        20. กำหนดให้มีการวางแผน ทรัพยากรมนุษย์ และการตั้งถิ่นฐานในท้องถิ่น ให้ สอดคล้องกับการใช้ทรัพยากรและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  
 
หน่วยงานส่วนภูมิภาค PDF พิมพ์ อีเมล

 หน่วยงานส่วนภูมิภาค
   
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 1 (เชียงใหม่)
       สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 2 (เชียงราย)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 3 (ลำปาง)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 4 (ตาก)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 5 (สระบุรี)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 (อุดรธานี)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 (ขอนแก่น)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที 8 (นครราชสีมา)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 9 (ชลบุรี)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 10 (ราชบุรี)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 11 (สุราษฎร์ธานี)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 12 (นครศรีธรรมราช)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 (สงขลา)
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 4 สาขานครสวรรค์
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 6 สาขานครพนม
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 สาขาอุบลราชธานี
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 9 สาขาปราจีนบุรี
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 12 สาขากระบี่
      สำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 สาขานราธิวาส
 
หน่วยงานส่วนกลาง PDF พิมพ์ อีเมล

หน่วยงานส่วนกลาง


 

สำนักบริหารกลาง
   

-

ส่วนอำนวยการ
   

-

ส่วนการเจ้าหน้าที่
    - ส่วนการคลัง
    - ส่วนประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
    - ส่วนเสริมสร้างวินัย
 

สำนักป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า
   

-

ส่วนอำนวยการสำนักป้องกันรักษาป่าและควบคุมไฟป่า
   

-

ส่วนด่านป่าไม้
   

-

ส่วนควบคุมไฟป่า
   

-

ส่วนยุทธการด้านป้องกันและปราบปราม
   

-

ส่วนแผนการป้องกันและปราบปราม
 

สำนักจัดการป่าชุมชน
   

-

 ส่วนอำนวยการสำนักส่งเสริมการปลูกป่า
   

-

ส่วนส่งเสริมการจัดการป่าชุมชน
   

-

ส่วนส่งเสริมการมีส่วนร่วม
   

-

ส่วนพัฒนาวนศาสตร์ชุมชน
   

-

สำนักส่งเสริมการปลูกป่า
 

สำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ 
 

สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
  กลุ่มงานวนวัฒนวิจัย
 

สำนักส่งเสริมการปลูกป่า
    - ส่วนอำนวยการสำนักส่งเสริมการปลูกป่า
    - ส่วนปลูกป่าภาคเอกชน
    - ส่วนปลูกป่าภาครัฐ
    - ส่วนเพาะชำกล้าไม้
  สำนักจัดการที่ดินป่าไม้
  สำนักแผนงานและสารสนเทศ
    - ส่วนอำนวยการสำนักแผนงานและสารสนเทศ
    - ส่วนแผนงานและงบประมาณ
    - ส่วนติดตามและประเมินผล
    - ส่วนวิเทศน์สัมพันธ์
    - ส่วนโครงการพระราชดำริและกิจการพิเศษ
    - ศูนย์สารสนเทศ
    - ศูนย์บริการประชาชน
  กองการอนุญาต
  กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
  กลุ่มตรวจสอบภายใน
  กลุ่มนิติการ
     
 





กรมป่าไม้ 61 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท์ : (662)-561 4292-3 โทรสาร : (662)-940 5910
 
<< เริ่มแรก < ย้อนกลับ 1 2 3 4 5 ถัดไป > สุดท้าย >>

หน้า 5 จาก 5